บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2017

appinventor

รูปภาพ
http://ai2.appinventor.mit.edu/?locale=en#6614713457442816 แบบจำลองแอพ เปิดปิดหลอดไฟ

ระบบเสียงในอาคาร ห้างสรรพสินค้า

รูปภาพ
ระบบเสียงตามสาย           ระบบเสียงตามสาย คือการส่งสัญญาณเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงต้นทาง อาจจะเป็นไมโครโฟน หรือ เครื่องเล่นเสียง CD/VCD/DVDMP3 หรือจากเครื่องรับวิทยุ หรือแหล่งอื่นๆ แล้วส่งไปที่เครื่องขยายเสียงเพื่อ ทำการขยายให้ได้กำลังสูงๆ เพื่อจะได้ส่งไปตามสายในระยะทางที่ไกลๆ โดย ที่ปลายทางจะมีลำโพงต่ออยู่ ระบบเสียงตามสาย อาจถูกเรียกได้หลายแบบเช่น ระบบเสียงตามสาย เสียงตามสาย ระบบประกาศ ระบบกระจายเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งล้วนแต่มีความหมายในทางเดียวกัน อาจจะมีวัตถุประสงค์และรูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันบ้าง แต่พื้นฐานหลักการจะมีองค์ประกอบเหมือนที่ กล่าวมาในตอนต้น การใช้งานระบบเสียงตามสายนิยมใช้ในระยะที่ไม่ไกลมาก โดยปกติจะใช้ภายในอาคาร ระหว่าง อาคาร หรือในพื้นที่หน่วยงาน โดยเฉลี่ยจะไม่เกิน 2 กิโลเมตรเนื่องจาก ยิ่งระยะทางไกลจะทำให้เกิดความ ต้านทานในสาย และทำให้สัญญาณเสียงลดคุณภาหรือดังค่อยลง อาคารเกือบทุกประเภทมีความจำเป็นต้องมีระบบเสียงตามสายเพื่อกระจายเสียงสำหรับประกาศเรียก หรือกระจายเสียงภายในอาคารเพื่อสื่อสารกับผู้ใช้อาคาร มีอุปกรณ์หลายชนิดรวมอยู่ในแผงกระจายเสียง (

ระบบเสียงสาธารณะ

รูปภาพ
ระบบเสียงสาธารณะ             แบ่งเป็น 2 แบบ คือ              1. ระบบเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงตามสายสาธารณะ (Public address System)             ระบบการกระจายเสียงไปตามสาย คือการส่งสัญญาณเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงต้นทาง อาจจะเป็นไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นเสียง CD/VCD/DVDMP3 หรือจากเครื่องรับวิทยุ หรือแหล่งอื่นๆ แล้วส่งไปที่เครื่องขยายเสียงเพื่อทำการขยายให้ได้กำลังสูงๆ เพื่อจะได้ส่งไปตามสายในระยะทางที่ไกลๆ โดย ที่ปลายทางจะมีลำโพงต่ออยู่             ระบบเสียงตามสาย อาจถูกเรียกได้หลายแบบเช่น ระบบเสียงตามสาย เสียงตามสาย ระบบประกาศ ระบบกรจายเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งล้วนแต่มีความหมายในทางเดียวกัน  อาจจะมีวัตถุประสงค์และรูบแบบการใช้งานที่แตกต่างกันบ้าง ไม่สำคัญ แต่พื้นฐานหลักการจะมีองค์ประกอบเหมือนที่เขียนมาในตอนต้น การใช้งานระบบเสียงตามสายนิยมใช้ในระยะที่ไม่ไกลมาก โดยปกติจะใช้ภายในอาคาร ระหว่างอาคาร หรือในพื้นที่หน่วยงาน โดยเฉลี่ยจะไม่เกิน 2 กิโลเมตรเนื่องจาก ยิ่งระยะทางไกลจะทำให้เกิดความต้านทานในสาย และทำให้สัญญาณเสียงลดคุณภาหรือดังค่อยลง           ข้อดีของร

PLC ระบบสายพานลำเลียง (Classification System)

รูปภาพ
PLC ระบบสายพานลำเลียงคัดขนาดกล่อง (Classification System) เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1) วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อศึกษาหลักการเขียนโปรแกรมโดยใช้ไดอะแกรมขั้นบันได 1.2 เพื่อให้มองเห็นภาพในการออกแบบวิธีการคัดแยกได้ชัดเจนขึ้น 1.3 เพื่อให้เข้าใจโปรแกรม PLC เบื้องต้นได้รวดเร็วขึ้น 1.4 เพื่อให้เข้าใจถึงหลักการตามความเป็นจริงในระบบคัดแยกให้มากที่สุดว่าแตกต่างกับทฤษฎีอย่างไร บ้าง หลักการทำงาน        ทำการเขียนโปรแกรม Plants Simulator โดยการกำหนด Address ของค่าInput และค่าOutput ได้ดังตารางที่ 4.4.1(a) Input และ ตารางที่ 4.4.1(b) Output ภาพแสดงอินพุตเอ้าท์พุต ตารางที่ 4.4.1(a) Input ตารางที่ 4.4.1(b) Output  เงื่อนไขการทำงาน         กล่องทั้งหมดจะออกสายพาน A ไปตามลูกศรในรูป แล้วทำการคัดแยกไปยังสายพาน B และคัดแยกอีกทีในสายพาน C โดยมี Pneumatic Pusher A เป็นตัวคัดแยกกล่องขนาดกลางและขนาดใหญ่ให้ไปยังสายพาน B และ Pneumatic Pusher B เป็นตัวคัดแยกกล่องขนาดใหญ่ โดยมี Sensor Ladder Diagram

ระบบMATV

รูปภาพ
MATV คืออะไร อาจจะเป็นคำถามที่คนอยู่อพาร์ทเม้นท์หรือคอนโดอยากรู้ เพราะว่าทุกห้องคงต้องการดูทีวีอยู่แล้ว MATV นั้นย่อมาจากคำว่า Master Antenna Television อันหมายถึงการกระจายสัญญาณทีวีไปยังห้องต่างๆภายในอาคารเดียวกันหรือในกลุ่มอาคารบริเวณใกล้เคียงกันโดยใช้สายอากาศเพียงชุดเดียว ระบบนี้จึงเป็นที่นิยมใช้ตาม หอพัก อพาร์ทเม้น รีสอร์ท คอนโดมิเนียม โรงแรมเป็นต้น เหตุที่ได้รับความนิยมในกลุ่มห้องพักแบบนี้ก็ต้องลองจินตนาการดูว่าคอนโดหนึ่งๆมีจำนวนห้องซัก 50 ห้อง จะให้แต่ละห้องติดตั้งสายอากาศหรือจานดาวเทียมของตนเองก็คงรกหูรกตาน่าดู เห็นได้จากอาคารชุดสมัยก่อนๆ ที่ไม่มีระบบเหล่านี้ เราจะเห็นเสาก้างปลาเต็มหลังคา หรือจานดาวเทียมเต็มหลังห้อง การใช้เสารวมจึงเป็นแนวทางที่ดีในการบริหารจัดการเรื่องการเดินสาย การติดตั้งของแต่ละห้องให้มีปัญหาน้อยลง การติดตั้งสายอากาศแบบก้างปลาบนหลังคาอันเดียวแล้วต่อสายธรรมดาๆ ลงมาทุกห้องจะเกิดปัญหาว่าห้องที่อยู่ไกลๆจะดูได้ไม่ชัด หรือแทบไม่มีสัญญาณเลย เกิดสัญญาณรบกวนจากการเปิดปิดไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าในห้องต่างๆเข้ามาในระบบสายส่ง การสูญเสียสัญญาณเมื่อต้องต่อสายระยะไกล ปัญหาเหล

LNB จานดาวเทียม

รูปภาพ
L NB (Low Noise Block down Converter) คืออุปกรณ์ขยายสํญญาณรบกวนต่ำ เป็นภาคขยายสํญญาณความถี่วิทยุ (RF Amplifier) ที่มีLNA:Low Noise Amplifier อยู่ภายใน จะทำหน้าที่รับและขยายสัญญาณที่รับมาจากหน้าจานดาวเทียมและควบคุมระดับสัญญาณรบกวน Noise ให้มีค่าน้อยที่สุด จากนั้นจะทำการส่งผ่านภาคแปลงความถี่ให้ต่ำลง Down Converter เช่นแปลงความถี่ย่าน C-Band จาก3.7-4.2 GHzให้เหลือ 950-2050 MHz จึงจะสามารถส่งผ่านไปกับสายสํญญาณ RG6U ไปยังเครื่องรับได้ LNB มี 2 ประเภท LNB C-Band LNB KU-Band มี 2 แบบ แบบยูนิเวอร์แซลความถี่ 9750-10600 MHz แบบมาตรฐานความถี่ 11300 MHz การเลือกใช้แบบไหนกับดาวดวงใดมีสูตรดังนี้ ใช้ความถี่ช่องที่ต้องการดูเช่นดาวเทียม Nss6 ku ช่อง ASTV ความถี่ 11635 - ความถี่LNB 10600 = 1035 MHz หากใช้ความถี่ 11635 - ความถี่LNB แบบมาตรฐาน 11300 ก็จะได้ 11635-11300 =335 MHz ค่าความถี่ที่จะได้ต้องอยู่ที่ตัวเลข 950 -2150 MHz เท่านั้น หัวรับแบบยูนิเวอร์แซลมีขอดีอีกอย่างคือสามารถรับความถี่ย่านสูงได้แบบนี้ มีวงจร Local Oscillator อยู่ 2 ชุด เพื่อให้รับสัญญาณได้ทั้ง 2 ช่วงความถี่ โดย
รูปภาพ
การใช้เข็มทิศ ปรับตั้งจาน การใช้เข็มทิศ    การใช้เข็มทิศสำหรับติดตั้งจานดาวเทียม    - ใช้วัดทิศทางในการรับสัญญาณ - ใช้เทียบวัดปรับขั้วการรับสัญญาณของตัว LNB การเลือกใช้เข็มทิศสำหรับติดตั้งจาน                 เข็มทิศมีอยู่มากมายหลายแบบ...แต่ที่นิยมมากที่สุดสำหรับช่างติดตั้งจานดาว เทียมในขณะนี้คือ...เข็มทิศแบบไม้บรรทัด เหมือนภาพตัวอย่างนี้...ไม่ว่าจะเป็นบริษัทดาวเทียมใหญ่หรือเล็ก...ตอนนี้ แนะนำให้ใช้เข็มทิศแบบนี้กันทั้งนั้นละครับ                    ข้อดีของเข็มทิศแบบนี้ก็คือ....สามารถหมุนปรับตั้งตัวเลขอ้างอิงได้...ใช้ วัดปรับทิศได้ค่อนข้างแม่น...และใช้วัดปรับขั้วการรับสัญญาณของตัว LNB ได้ด้วย...และสำหรับท่านที่นำไปใช้ควบคู่กับแผนที่ที่มีอัตราส่วนเท่ากันกับ ตัวเลขที่พิมพ์ไว้ข้างๆตัวเข็มทิศ...ก็จะสามารถวัดระยะทางเป็นแบบกิโลเมตร ได้เลยละครับ...และสุดท้ายที่ยากจะแนะนำคือมีแว่นขยายให้ใช้ด้วย...สรุป เข็มทิศนี้ค่อนข้างดีจึงยากแนะนำให้ใช้กันครับ               เข็มทิศเป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับวัดทิศทาง  เพื่ออ้างอิง เป็นอุปกรณ์ตัวเล็กแต่ประโยชน์มากมายครับ  ตัวเข็มทิศผลิ